directive ที่ชื่อว่า v-html นั้นชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าม้นต้องเกี่ยวข้องกับ HTML แน่นอน
ซึ่งความเกี่ยวข้องนั้นก็คือ มันจะแสดง tag HTML ใน ค่าที่มาจาก vue.js หากเราไม่ใช้ v-html แล้ว tag นั้นก็จะแสดงไม่ได้ เช่น
ไฟล์ html
<p>{{ quote }}</p>
ไฟล์ vue.js
data() {
return {
goal: 'HI Course',
goal2: 'Hey',
quote: '<b> Hi v-html</br>',
vueLink: 'https://vuejs.org/'
};
},
ผลที่ได้คือ {{ quote }}
จะสังเกตว่าค่าใน quote นั้นมี tag HTML อยู่ด้วย
เพราะงั้นเราถึงต้องใช้ v-html ไงล่ะ แก้ไขโค้ด html ใหม่เป็น
<p v-html="quote"></p>
เท่านี้ก็เรียบร้อยจ่ะ..
ขั้นตอนการติดตั้ง Vuetify ใน Laravel
3 เทคนิค เพิ่มความเร็วใน Laravel
ฟังก์ชันวันเวลาที่น่าสนใจใน MySQL
เคล็ดลับการเรียงลำดับข้อมูลใน MySQL
เชื่อมตารางตัวเองใน MySQL ด้วย SELF JOIN
เคล็ดลับเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ Google Docs
เทคนิคการใช้ ChatGPT Plus ให้คุ้มค่า คุ้มราคา
เชื่อมหลายฐานข้อมูล MySQL ใน Codeigniter4